บรรยากาศที่บ้านบาตรในพิธีไหว้ครู
- TH SLPBL PIC.02.012
- Item
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
บรรยากาศในพิธีไหว้ครูช่วงรำถวายมือที่บ้านบาตร
3207 results with digital objects Show results with digital objects
บรรยากาศที่บ้านบาตรในพิธีไหว้ครู
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
บรรยากาศในพิธีไหว้ครูช่วงรำถวายมือที่บ้านบาตร
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
คุณหลวงประดิษฐไพเราะและลูกศิษย์ทั้งหลายของท่าน
บรรยากาศที่บ้านบาตรในพิธีไหว้ครู ช่วงรำถวายมือ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
บรรยากาศในพิธีไหว้ครูช่วงรำถวายมือที่บ้านบาตร คุณหลวงประดิษฐไพเราะเป็นผู้อ่านโองการ
บรรยากาศที่บ้านบาตรในพิธีไหว้ครู
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ดนตรีบรรเลงเป็นระยะๆ เป็นเพลงหน้าพาทย์หลายเพลง ตามที่หลวงประดิษฐไพเราะผู้อ่านโองการจะบอกให้บรรเลงเพลงใด
บรรยากาศที่บ้านบาตรในวันไหว้ครู
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ถ่ายภาพร่วมกับลูกหลานและผู้ที่เข้าร่วมพิธีไหว้ครูดนตรีไทยหลังจากที่พิธีสิ้นสุดแล้ว
หน้าสุดลำดับที่3 จากขวา คือ ดร.กุลธร ศิลปบรรเลง
บรรยากาศที่บ้านบาตรในพิธีไหว้ครู
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
หลวงประดิษฐไพเราะอ่านโองการ ในภาพมีพระพรมปรีชาอยู่หลังหลวงประดิษฐไพเราะ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ชัชวาลย์ (น้องสาว อ. ประสิทธิ์) ประสิทธิ์ และ กมเลศ จันทร์เรือง (ครึ่งตัว) ภาพที่บ้านบาตร เห็นบ้านคุณย่าฟูด้านหลัง
(บรรยายหลังภาพโดย กมเลศ)
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ลูกหลานของคุณหลวงประดิษฐไพเราะที่บ้านของท่าน
ยืน ชื่อชัชวาลย์ จันทร์เรือง บุตรสาวคนสุดท้องของหลวงประดิษฐไพเราะ และคุณย่าโชติ
แถวนั่งบนสุดที่3 จากซ้าย คือ คุณหญิงชิ้น ศิลปบรรเลง ถัดไป คือ น้องสาวบรรเลง สาคริก
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
บรรยากาศที่บ้านบาตรสมัยคุณหลวงประดิษฐไพเราะยังมีชีวิตอยู่
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ลูกหลานของหลวงประดิษฐไพเราะ บรรไดแรกคนขวาสุด คือ ดร.กุลธร ศิลปบรรเลง หลานปู่ชายคนโตของหลวงประดิษฐ์ไพเราะ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
บรรยากาศที่บ้านบาตรสมัยคุณหลวงประดิษฐไพเราะยังมีชีวิตอยู่
บ้านศิลปบรรเลง ถนนบริพัตร วรจักร
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ในบริเวณบ้านศิลปบรรเลงจะประกอบด้วยบ้าน 7-8 หลัง ซึ่งเป็นที่อยู่ของหลวงประดิษฐ์ไพเราะ และลูกๆของท่าน อาคารบางหลังเป็นที่เก็บเครื่องดนตรีไทย และห้องซ้อม/สอน ดนตรีไทยให้กับลูกศิษย์
ภาพครอบครัวศิลปบรรเลงที่บ้านบาตร
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ตามหาถิ่นกำเนิดหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ดร.กุลธร ศิลปบรรเลง เป็นผู้ดำริให้มีโครงการตามหาสถานที่อยู่ของบรรพบุรุษ คือ หลวงประดิษฐ์ไพเราะ และบิดาของท่านคือ ครูสิน ศิลปบรรเลง ที่อัมพวา คณะทำงานทั้งหมดซึ่งเป็นหลานของคุณหลวงประดิษฐ์ไพเราะ ได้นำเสนอรายงานของการตามหาถิ่นกำเนิด
ตราไปรษณียากรที่ระลึกครอบ 100 ปี หลวงประดิษฐไพเราะ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ตราไปรษณียากรณ์จัดทำโดยกลุ่มไปรษณีย์
ข้อมูลการบันทึกเสียง (แผ่นเสียง) ในประเทศไทย สมัยราว พ.ศ. 2450
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
นายแปลก นายสอน หม่อมส้มจีน บันทึกเสียง (แผ่นเสียง) ราว พ.ศ. 2450
พระยาประสานดุริยศัพท์ เกิดปี พ.ศ. 2403 หลวงประดิษฐไพเราะ เกิดปี พ.ศ. 2424 อายุน้อยกว่า 21 ปี และท่านเป็นบิดาของอาจารย์ประสิทธิ์ ศิลปบรรเลง
เอกสารพระราชทานนามสกุล ศิลปบรรเลง
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
สมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์พระราชทานนามสกุล ศิลปะบรรเลง (Silapa Banleng) แก่นายศร
ภาพปี่ชวาที่สมเด็จวังบูรพาฯ ใช้ฟาดศีรษะนายศร พร้อมทั้งคำจารึก โดยสมเด็จวังบูรพาฯ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ปี่ชวาที่สมเด็จวังบูรพาฯ ใช้ฟาดศีรษะนายศร เก็บรักษาไว้โดย ดร. กุลธร ศิลปบรรเลง หลานผู้ชายคนโตของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
ภาพปี่ชวาที่สมเด็จวังบูรพาฯ ใช้ฟาดศีรษะนายศร พร้อมทั้งคำจารึก โดยสมเด็จวังบูรพาฯ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ปี่ชวาที่สมเด็จวังบูรพาฯ ใช้ฟาดศีรษะนายศร เก็บรักษาไว้โดย ดร. กุลธร ศิลปบรรเลง หลานผู้ชายคนโตของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
ภาพปี่ชวาที่สมเด็จวังบูรพาฯ ใช้ฟาดศีรษะนายศร พร้อมทั้งคำจารึก โดยสมเด็จวังบูรพาฯ
Part of รูปภาพและภาพถ่าย
ปี่ชวาที่สมเด็จวังบูรพาฯ ใช้ฟาดศีรษะนายศร เก็บรักษาไว้โดย ดร. กุลธร ศิลปบรรเลง หลานผู้ชายคนโตของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)